บทความวิจัย : การจัดการปัญหาการขาดแคลนน้ำเพื่อการเกษตรในฤดูแล้ง โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน บ้านทุ่งฮ้างและบ้านแม่จอกฟ้า จังหวัดลำปาง
โดย ดารารัตน์ ธาตุรักษ์, วชิระ หล่อประดิษฐ์ และ วัชรี เทพโยธิน
บทความวิจัย : แนวทางการแก้ปัญหาน้ำท่วมซ้ำซากและการขาดแคลนน้ำโดยกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน หมู่บ้านจาน จังหวัดกาฬสินธุ์
โดย จุฑามาศ เจียมสาธิต, ศิริพร จรรยา และ ผดุงศักดิ์ คำยศ
บทความวิจัย : การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงเกษตรชุมชนโดยองค์กรแบบพหุภาคี ชุมชนวังยาง จังหวัดสุพรรณบุรี
โดย ธง คำเกิด, พลารัก ไชยโย, เพียงฤทัย เสงี่ยมศิลป์, จิตราภรณ์ เถรวัตร, อุทมพร เรืองฤทธิ์ และ พรทิพย์ ช่วยเพล
บทความวิจัย : การสร้างสรรค์และยกระดับเสวียนหม้อภูมิปัญญาของชาวใต้สู่ผลิตภัณฑ์ของใช้ของตกแต่ง ตำบลขนาบนาก จังหวัดนครศรีธรรมราช
โดย ปรัชญา กฤษณะพันธ์ และ รุ่งรวี จิตภักดี
บทความวิจัย : การพัฒนาสถานประกอบการผลิตอาหารฮาลาลขนาดเล็กในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ เพื่อยกระดับความปลอดภัยอาหาร
โดย จริยา สุขจันทรา, กมลทิพย์ กรรไพเราะ, สุธีรา ศรีสุข และ คืนจันทร์ ณ นคร
ปีที่ 12 ฉบับที่ 6 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2563
ภัยธรรมชาติ และ พิบัติภัย นำมาสู่ ความสูญเสีย และโศกนาฏกรรม ด้วยเหตุที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ ทำให้มนุษย์ต้องเรียนรู้ ปรับตัว และสร้างเครื่องมือและกลไกที่ช่วยบรรเทา ตัวอย่างเช่น
การพัฒนานวัตกรรมการรับมือแผ่นดินไหว ในประเทศที่ได้รับผลกระทบอย่างต่อเนื่องยาวนาน สำหรับประเทศไทยที่เกิดอุทกภัยสลับกับภัยแล้ง กระจายในหลายพื้นที่ องค์ความรู้เรื่องการจัดการน้ำ
จึงต้องได้รับการพัฒนาต่อยอด ร่วมกับการติดตามข้อมูล ให้ปฏิบัติได้เท่าทันกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว และปรับใช้ให้เหมาะสมกับบริบทของแต่ละพื้นที่
บทความที่เผยแพร่ในวารสารฉบับนี้ เป็นตัวอย่างของการทำงานเพื่อการใช้ทรัพยากรอย่างเหมาะสม บรรเทาผลกระทบจากภัยธรรมชาติ โดยใช้ กลไกการมีส่วนร่วมของชุมชน
ผสมผสานองค์ความรู้ด้านการจัดการ การออกแบบ เข้ากับ ภูมิปัญญาและวิถีดั้งเดิม เกิดเป็นงานวิชาการรับใช้สังคมที่เห็นผลเป็นรูปธรรม มีคุณค่าสามารถนำไปปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ในพื้นที่อื่น ๆ ได้
รศ. ดร. ชิตณรงค์ ศิริสถิตย์กุล บรรณาธิการ
ชื่อไฟล์
abcjournal12-6-63E.Zip
ขนาดไฟล์
13 MB
(
932
) ครั้ง