
บทความวิจัย : “เตาไอน้ำ D.I.Y. สไตล์ทุ่งบ่อแป้น” รูปแบบนวัตกรรมการจัดการพลังงานโดยนวัตกรรมกระบวนการ
โดย รวิภา ยงประยูร, วราคม วงศ์ชัย และ วีระ พันอินทร์

บทความวิจัย : การมีส่วนร่วมในการสร้างมูลค่าเมล็ดพันธุ์ข้าวหมู่บ้านราชมงคลอีสาน “บ้านศาลา” จังหวัดนครราชสีมา
โดย ดุษฎี เทียมเทศ บุญมาสูงทรง, พรทิพย์ รอดพ้น, ไกรสิทธิ วสุเพ็ญ, เดือนเพ็ญ วงค์สอน, นันทวันทน์
ดูสันเทียะ, อรุณี มณที, และเพลงพิณ เพียรภูมิพงศ์

บทความวิจัย : การออกแบบและพัฒนาบรรจุภัณฑ์สำหรับแกงแพะ จันทิมาฟาร์มแพะ จังหวัดภูเก็ต
โดย ฤธรรมรง ปลัดสงคราม, พฤทธิพงศ์ พุฒขาว, มณฑิตา พราหมณโชติ, พหล รงค์กุล, และ จันทร์ธิมา จาปรัง

บทความวิจัย : การพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าทอแบบมีส่วนร่วมของชุมชนบ้านภูทอง จังหวัดสุโขทัย
โดย พรชัย ปานทุ่ง

บทความวิจัย : การพัฒนาการจัดการธุรกิจผลิตภัณฑ์กระจูดของกลุ่มแม่บ้านทหารกรมทหารราบที่ 151 กองทัพภาคที่ 4
โดย ชมพูนุท ศรีพงษ์, สันติ อารักษ์คุณากร, ปิยะดา มณีนิล, สัสดี กำแพงดี, และวัลย์ลดา พรหมเวียง

บทความวิจัย :การบริหารจัดการแหล่งเรียนรู้มีชีวิตกลุ่มโรงเรียนบ้านท่าสาป จังหวัดยะลา
โดย เนาวรัตน์ ตรีไพบูลย์
ปีที่ 11 ฉบับที่ 4 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
การบริการวิชาการ เป็นภารกิจของมหาวิทยาลัย ที่สร้างประโยชน์ ให้กับภาคการผลิต และ ชุมชนท้องถิ่น
ได้อย่างเป็นรูปธรรมชัดเจน ศาสตร์หลากหลายที่มีการเรียนการสอน และเป็นความเชี่ยวชาญของบุคลากรในมหาวิทยาลัย
ทั้งทางมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ วิทยาการสุขภาพ และวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี สามารถเสริมการทำงานของหน่วยงานภาครัฐ
ในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาชุมชนท้องถิ่น ได้ในทุกมิติ
นอกจากนี้ยังพบว่า งานวิจัยเชิงพื้นที่คุณภาพสูงที่ตอบโจทย์ความต้องการของกลุ่มชุมชนได้จริง มักจะมีจุดเริ่มต้นจากการบริการวิชาการ
เพราะนอกจากทำให้นักวิจัยเข้าใจบริบทและเข้าถึงความต้องการของชุมชน ยังเปิดโอกาสให้บุคลากรภาครัฐ
ภาควิชาการ และภาคีเครือข่ายในพื้นที่ ได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ นำไปสู่การมองเป้าหมายความสำเร็จระยะสั้น
และระยะยาว ในการทำงานร่วมกันอย่างต่อเนื่อง
รศ. ดร. ชิตณรงค์ ศิริสถิตย์กุล บรรณาธิการ
ชื่อไฟล์
abcjournal11-4-62E.Zip
ขนาดไฟล์
15.0MB
(
762
) ครั้ง