บทความวิจัย : ระบบ กลไก และการจัดการงานวิจัยเพื่อพัฒนาพื้นที่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ
โดย กิตติ บุญเลิศนิรันดร์ สุนิษา เละเซ็น พาขวัญ ทองรักษ์ เอกชัย รัตนบรรลือ มนตรี สังข์ทอง และธารนี นวัสนธี
บทความวิจัย : การพัฒนาช่องทางจัดจำหน่ายเนื้อสุกรของกลุ่มเกษตรกรบ้านทุ่งขาม จังหวัดน่าน
โดย วินัย แก้วละมุล ขจร นิติวรารักษ์ ศราวณี ขันมณี และ วิชัย ทันตศุภารักษ์
บทความวิจัย : “สวนครัวเรือน” ความมั่นคงทางอาหารในครัวเรือนชุมชนวัดบางอ้อยช้าง จังหวัดนนทบุรี
โดย นัฐศิพร แสงเยือน ธนาศรี สัมพันธารักษ์ เพ็ชรยิ้ม และ ประภัสรา นาคะ พันธุ์อําไพ
บทความวิจัย : กระบวนการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอต่อการจัดระบบดูแลผู้สูงอายุระยะยาวตำบลท่าขึ้น จังหวัดนครศรีธรรมราช
โดย เรวดี เพชรศิราสัณห์ นัยนา หนูนิล สายฝน เอกวรางกูร ราตรี ฤทธิรัตน์
บทความวิจัย : ป่าจาก: ทรัพยากรทางธรรมชาติและแหล่งท่องเที่ยวของชุมชนขนาบนาก จังหวัดนครศรีธรรมราช
โดย อรอนงค์ เฉียบแหลม
บทความวิจัย : กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์สำหรับกลุ่มนักท่องเที่ยวสูงอายุ พื้นที่ชุมชนลุ่มน้ำคลองป่าพะยอม - คลองท่าแนะ จังหวัดพัทลุง
โดย วาสนา สุวรรณวิจิตร
ปีที่10 ฉบับที่ 6 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2561
การวิจัยเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่ อาศัยการประสานระหว่างภาคีเครือข่ายชุมชน หน่วยงานภาครัฐ และ นักวิจัยจากภาควิชาการ การเชื่อมต่อจะมีประสิทธิภาพในกรณีที่และภาคส่วนมีการรวมกลุ่ม
ให้เกิดความเข้มแข็งจากภายใน พร้อมขับเคลื่อนการพัฒนาร่วมกับกลไกภายนอก
ในชุมชน การรวมกลุ่มเกิดขึ้นในหลายรูปแบบ และมีเป้าหมายที่หลากหลาย ทั้งด้านอาชีพ ส่งเสริมสุขภาพ ศิลปะวัฒนธรรม
รวมถึงอนุรักษ์ ดังตัวอย่างบทความในวารสารฉบับนี้ ซึ่งฉายภาพภาคีเครือข่ายชุมชนที่มีความพร้อมพัฒนาพื้นที่ร่วมกับภาควิชาการ และหน่วยงานภาครัฐ ตามยุทธศาสตร์จังหวัด
ในภาควิชาการ การรวมกลุ่มนักวิจัยต่างศาสตร์ต่างสังกัดเพื่อร่วมตอบโจย์พัฒนาพื้นที่ สามารถเกิดขึ้นด้วยการสนับสนุนฃองระบบจัดการงานวิจัยที่มีประสิทธิภาพของมหาวิทยาลัย
ซึ่งบทความจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ได้นำเสนอรูปแบบและแนวทางให้ภาควิชาการ มีความพร้อมในการตอบสนองโจทย์การแก้ไขปัญหาและพัฒนาพื้นที่
รศ. ดร. ชิตณรงค์ ศิริสถิตย์กุล บรรณาธิการ
ชื่อไฟล์
abcjournal10-6-61E.Zip
ขนาดไฟล์
16.0 MB
(
818
) ครั้ง