
บทความวิจัย :การเสริมสร้างความเข้มแข็งการดำเนินงานทางการตลาดเพื่อรองรับนโยบายไทยแลนด์ 4.0
ของแหล่งท่องเที่ยวบ้านนาดี – สร้างบง จังหวัดอุดรธานี
โดย วัฒน์จิรชัย เวชชนินนาท

บทความวิจัย : กลไกการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการพื้นที่สาธารณะ “หาดแห่” เกาะกลางแม่น้ำโขง
โดย กชกร เดชะคำภู และ ทิพาภรณ์ หอมดี

บทความวิจัย : การจัดการชุมชนเพื่อการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตสู่ระบบการผลิตเกษตรทางเลือกของชุมชน บ้านห้วยไซสุขสวัสดิ์ จังหวัดลำพูน
โดย ณัฏฐ์ดนัย ประเทืองบริบูรณ์ และ นันทะ บุตรน้อย

บทความวิจัย : การเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศและการจัดการป่าชุมชนบ้านร่องบอน จังหวัดเชียงราย
โดย รณิดา ปิงเมือง เพ็ญศรี มลิทอง สุทธิ มลิทอง สวิง ขันทะสา และ ระวี ถาวร

บทความวิจัย : ศักยภาพและความพร้อมบริการทางการท่องเที่ยวกว๊านพะเยา จังหวัดพะเยา
โดย วรัญญา ไชยทารินทร์ และ อริยา เผ่าเครื่อง

บทความวิจัย : กระบวนการมีส่วนร่วมในการฟื้นฟูอนุรักษ์และสืบทอดประเพณีอาบน้ำคืนเพ็ญ ชุมชนสามเรือน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
โดย นัทธี เพชรบุรี และ บุญสมหญิง พลเมืองดี
ปีที่ 9 ฉบับที่ 5 กันยายน-ตุลาคม 2560
การเปลี่ยนแปลง เกิดขึ้นกับทุกสรรพสิ่ง ในทุกสังคม แต่การยอมรับโดยแต่ละปัจเจกบุคคลหรือชุมชนนั้น
ขึ้นกับอัตราการเปลี่ยนแปลงเป็นสำคัญ เมื่อมีประเด็นเกี่ยวข้องกับการใช้ทรัพยากรในพื้นที่เพื่อสร้างประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ
แล้วเร่งให้เกิดการเปลี่ยนแปลงรวดเร็ว ย่อมนำไปสู่ความเห็นที่แตกต่างของหลายภาคส่วน
รวมถึงภายในชุมชนเอง สมดุลระหว่างการใช้ประโยชน์และการอนุรักษ์ทรัพยากรจึงมีความสำคัญยิ่ง
และเป็นบทบาทของนักวิจัยที่จะใช้หลักวิชาการในการสืบค้น ศึกษาบริบท วิเคราะห์สถานการณ์และข้อมูล เพื่อเสนอทางเลือกสู่จุดสมดุลนั้น
บทความทั้ง 6 ที่เผยแพร่ในวารสารฉบับนี้ มีหัวใจร่วมกันที่มหาวิทยาลัยเข้าถึงและทำงานกับพื้นที่อย่างใกล้ชิด
สร้างการมีส่วนร่วม ศึกษาวัฒนธรรมและทรัพยากรท้องถิ่น พัฒนาเกษตรทางเลือกและแหล่งท่องเที่ยวในชุมชน
ซึ่งกลไกเล็กๆ แต่สำคัญนี้ จะนำไปสู่สมดุลระหว่างการอนุรักษ์วิถีดั้งเดิมและการเปลี่ยนแปลงอันหลีกเลี่ยงไม่ได้ ในอัตราที่ทุกฝ่ายยอมรับได้
รศ. ดร. ชิตณรงค์ ศิริสถิตย์กุล บรรณาธิการ
ชื่อไฟล์
abcjournal9-5-60E.Zip
ขนาดไฟล์
20.0 MB
(
445
) ครั้ง