กระบวนการเสริมสร้างศักยภาพชุมชนจัดการตนเองบนฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมป่าชุมชนริมลำน้ำชีของชุมชนบ้านเสม็ด ตำบลหนองเต็ง อำเภอกระสัง จังหวัดบุรีรัมย์
โดย อุทิศ ทาหอม , พิชิต วันดี และสำราญ ธุระตา
การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนด้านการสร้างเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียน สำหรับครูสังกัดโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน กองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ 22 อุบลราชธานี
โดย มินตรา สาระรักษ์ , จิราภรณ์ หลาบคำ , สมเจตน์ ทองดำ , จีราพร ทิพย์พิลา และจินตนา ศิริบูรณ์พิพัฒนา
กระบวนการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อเสริมรายได้ และลดต้นทุนการผลิตผักในท้องถิ่นของกลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกผักตำบลแวงน่าง อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม
โดย เพ็ญแข ธรรมเสนานุภาพ , ดาวเรือง มาจันทร์ และนิจพร มาจันทร์
การมีส่วนร่วมของชาวนาลุ่มน้ำปากพนังในการธำรงอัตลักษณ์ข้าวพันธุ์พื้นเมือง
โดย รุ่งรวี จิตภักดี และศันสนีย์ วงศ์สวัสดิ์
การพัฒนาระบบและกลไกบริหารงานวิจัยของมหาวิทยาลัยเอกชนที่เอื้อต่อการวิจัยเชิงพื้นที่: มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์นกับงานวิจัยเพื่อพัฒนาพื้นที่กึ่งเมืองกึ่งชนบท (ตำบลสารภี)
โดย นินุช บุณยฤทธานนท์ และสัชฌุเศรษฐ์ เรืองเดชสุวรรณ
บททดลองเสนอ : การเขียนบทความวิจัยเพื่อสังคม
โดย กาญจนา แก้วเทพ
ปีที่8 ฉบับที่2 เมษายน-มิถุนายน 2559
สำหรับบทความในวารสารวิจัยเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่ฉบับนี้ ยังคงเป็นตัวอย่างสาธิต “ความแปลกใหม่ใน ความเหมือนเดิม” ในหลายแง่หลายมุม
โดยบทความส่วนใหญ่ในวารสารฉบับนี้จะเป็นเรื่องที่ว่าด้วยการทำงานของสถาบันการศึกษา กับ“คนอื่น” คือ ชุมชน
แต่ก็จะมีบางครั้งที่มีบทความที่เกี่ยวกับ “การปรับปรุงตัวเอง” คือ ตัวสถาบันการศึกษาเอง ทั้งนี้
เพราะการขับ เคลื่อนภารกิจการบริการสังคม/ชุมชนนั้น ต้องขับเคลื่อนด้วยระบบย่อยๆ หลายระบบไปพร้อมๆ กัน
ทั้งชุมชน นัก วิจัย นโยบาย ผู้ทรงคุณวุฒิ การจัดสรรงบประมาณ ฯลฯ ...
ชื่อไฟล์
abcjournal8-2-59.Zip
ขนาดไฟล์
24.72 MB
(
1096
) ครั้ง