
การจัดการทรัพยากรน้ำแบบกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน กรณีศึกษา: การจัดการอุทกภัยในพื้นที่ที่มีภูมินิเวศแบบกุด บ้านโขงใหญ่ ตำบลมะค่า อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม
โดย ดร.สุดารัตน์ คำปลิว

การวิจัยพัฒนารูปแบบและคุณค่าผลิตภัณฑ์เครื่องปั้นดินเผาบ้านเหมืองกุง โดยการต่อยอดเทคนิคภูมิปัญญาท้องถิ่น และฟื้นฟูเอกลักษณ์ในการออกแบบ
โดย ผศ. คนธาภรณ์ เมียร์แมน

รูปแบบการบริหารจัดการองค์กรและการจัดการตลาดกลุ่มผลิตข้าวอินทรีย์ปลอดสารพิษ บ้านราษฎร์เจริญ และบ้านทองหลาง จังหวัดอุบลราชธานี
โดย ดร.สุมาลี เงยวิจิตร

การกำจัดเงื่อนไขการเกิดยุงลายเพื่อการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกของชุมชน ตลาดพฤหัส อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช
โดย ผศ. ดร.จรวย สุวรรณบำรุง

รูปแบบการพัฒนาศักยภาพหมอชุมชนในการดูแลผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรังบนฐานสังคมและวัฒนธรรม ตำบลดอนหว่าน อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม
โดย ดร.ผดุงศิษฏ์ ชำนาญบริรักษ์

รูปแบบการท่องเที่ยวเชิงนิเวศวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ชุมชนบ้านบาก ตำบลบ้านบาก อำเภอดอนตาล จังหวัดมุกดาหาร
โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อัปสร อีซอ

การพัฒนาการเรียนการสอนของครูปฐมวัย โดยใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ชุลีพร สงวนศรี

บทความรับเชิญ ศิลป์และศาสตร์ของงานวิจัยเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่
โดย รองศาสตราจารย์ ดร. สุธีระ ประเสริฐสรรพ์
ปีที่5 ฉบับที่5 พฤษภาคม-มิถุนายน 2556

ปรากฏการณ์ที่ทั้งโลกเชื่อมเป็นหนึ่งเดียว ทำให้แนวคิดและการปฏิบัติ เรื่องการพัฒนาเชิงพื้นที่มีความซับซ้อนเป็นอันมาก
เนื่องจากการเชื่อมโยงกันดัง กล่าว ทำให้ชุมชนกลายเป็นระบบเปิด ทุกวันนี้การจะหาชุมชนในชนบทที่ห่าง ไกล
แม้แต่บนภูดอยก็เป็นสิ่งที่พบเห็นได้ไม่ง่ายแล้ว เนื่องจากชุมชนทั้งหลายได้ เชื่อมโยงเข้าด้วยกันจนเกิดระบบโลกขึ้น
จึงอาจกล่าวได้ว่าระบบโลกนี้เชื่อมโยง เข้าด้วยกันด้วยระบบย่อยสำคัญหลายระบบ ในที่นี้จะกล่าว 2 ระบบย่อย ได้แก่
ระบบตลาดโลกและระบบนิเวศโลก ระบบตลาดโลกเกิดจากกิจกรรมทาง เศรษฐกิจ-การเมืองของมนุษย์ ระบบนิเวศโลกเป็นการกระทำร่วมกันของ
ธรรมชาติและมนุษย์ ซึ่งเห็นกันว่ากิจกรรมของมนุษย์มีส่วนสำคัญในการ เปลี่ยนแปลงระบบนิเวศโลกมากขึ้นทุกที...
ชื่อไฟล์
abcjournal5-5-56.zip
ขนาดไฟล์
7.25 MB
( 1753 ) ครั้ง