
การวิจัยเชิงทดลองขยายผลวิถีเศรษฐกิจพอเพียงจากเกษตรกรต้นแบบสู่เกษตรกรในบริบทที่ใกล้เคียงกัน
โดย รองศาสตราจารย์ มยุรี วัดแก้ว

การมีส่วนร่วมของชาวเขาเผ่าเมี่ยนในการฟื้นฟูแหล่งอาหารและความหลากหลายทางชีวภาพบ้านน้ำแป่ง ตำบลผาทอง อำเภอท่าวังผา จังหวัดน่าน
โดย ดร.วรรณา มังกิตะ

การพัฒนารูปแบบเศรษฐกิจพอเพียงโซ่อุปทานวัว อำเภอไพศาลี จังหวัดนครสวรรค์
โดย ผศ.ดร.สุรชัย บุญเจริญ

การศึกษาและพัฒนาเครื่องกวาดเก็บมูลแพะตามโครงการส่งเสริมการเลี้ยงแพะเนื้อเชิงพาณิชย์ ในเขตพื้นที่ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้
โดย กันตภณ มะหาหมัด

การวิจัยและพัฒนารูปแบบพลังงานทางเลือกจากมูลโคสำหรับเกษตรกรรายย่อยบ้านห้วยบง อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์
โดย ผศ.ดร.เจษฎา มิ่งฉาย

การศึกษาการนำเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิตของประชาชนภาคเกษตร จังหวัดอุดรธานี
โดย พัชฎาภรณ์ แสงทามาตย์

รูปแบบการท่องเที่ยวเชิงนิเวศวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ชุมชนบ้านบาก ตำบลบ้านบาก อำเภอดอนตาล จังหวัดมุกดาหาร
โดย ปวีณา ทองบุญยัง

การย้อมสีเส้นด้ายฝ้ายด้วยสีย้อมธรรมชาติจากใบและเปลือกต้นมะม่วงสำหรับอุตสาหกรรมครอบครัว
โดย รศ.ดร.ระมัด โชชัย
ปีที่5 ฉบับที่4 มีนาคม-เมษายน 2556

การพัฒนาเชิงพื้นที่มีความหมายตรงตัวว่าเป็นการพัฒนาที่ยึดพื้นที่เป็น ศูนย์กลาง แต่ในความตรงไปตรงมานั้นก็มีความซับซ้อนอยู่พอสมควร
เพราะว่า พื้นที่ย่อมมีการเปลี่ยนแปลง ซึ่งย่อมส่งผลต่องานวิจัยและการพัฒนาด้วยไม่น้อย
ในท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงทุกมิตินี้
งานวิจัยเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่น่าจะต้องการจินตนาการใหม่เกี่ยวกับชุมชนท้องถิ่นเพื่อการ ก้าวเดินต่อไป
เป็นการยากที่จะกล่าวถึงจินตนาการใหม่นี้โดยไม่ก่อให้เกิดการถกเถียงอย่างเอาจริงเอาจัง จากการปฏิบัติในการวิจัยและ
พัฒนาเชิงพื้นที่มายาวนานพอสมควร น่าจะสรุปบทเรียนได้ 2 ด้าน...
ชื่อไฟล์
abcjournal5-4-56.zip
ขนาดไฟล์
4.71 MB
( 1737 ) ครั้ง