
การสร้างมูลค่าเพิ่มวัสดุเหลือใช้จากผลิตภัณฑ์ชุมชนหมู่บ้านเรียงแถวใต้ ตำบลนิคมลำโดมน้อย อำเภอสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี
โดย ดร.จริยากรณ์ อุ่นวงษ์

การพัฒนาตะกอนน้ำดิบสู่งานหัตถอุตสาหกรรมเครื่องปั้นดินเผาจังหวัดปทุมธานี
โดย ภานุ พัฒนปณิธิพงศ์

การสร้างการเรียนรู้เพื่อนำไปสู่ชุมชนวิถีธรรมบนฐานคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กรณีศึกษา: บ้านโนนวิเศษ ตำบลโนนบุรี อำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์
โดย ผศ.ดร.ฉลอง พันธ์จันทร์

กระบวนการพัฒนาเครือข่ายการเรียนรู้เพื่อเพิ่มศักยภาพกลุ่มวิสาหกิจชุมชนแปรรูปลำไยอบแห้ง จังหวัดลำพูน
โดย ประหยัด มะโนพะเส้า

การพัฒนาผลิตภัณฑ์น้ำพริกเสริมแคลเซียมสูงจากก้างปลานิลสำหรับชุมชนบางระกำ
โดย ดร.วันเพ็ญ แสงทองพินิจ
[Retracted Article] เส้นทางท่องเที่ยวเชิงศิลปกรรมในเขตตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
โดย ภัทรีพันธุ์ พันธุ

รูปแบบการฟื้นฟูและอนุรักษ์ห้วยตองแวดอย่างมีส่วนร่วมของชุมชนบ้านโพธิ์ตก ตำบลโพธิ์ใหญ่ อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี
โดย กิ่งกาญจน์ สำนวนเย็น

การจัดการองค์ความรู้ชุมชนในการขับเคลื่อนพลังชุมชนเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
โดย กรชนก สนิทวงศ์
ปีที่5 ฉบับที่3 มกราคม-กุมภาพันธ์ 2556

การพัฒนาเชิงพื้นที่เป็นการพัฒนาหลายมิติ ซึ่งเป็นทั้งจุดแข็งและจุดอ่อนของตัวเอง
จุดแข็งที่ทำให้เกิดการพัฒนาอย่างทั่วด้านได้สมดุล กล่าวตามการบริหารสมัยนี้
ก็เท่ากับเป็นการใช้บัตรลงคะแนนหรือการประเมินองค์กรอย่างสมดุล (Balanced Scorecard) จุดอ่อน
ได้แก่ ปัญหาการจัดความสัมพันธ์ของมิติหรือยุทธศาสตร์ด้านต่างๆว่าควรเป็นอย่างไร อะไรเป็นหลัก อะไรเป็นรอง
หรืออะไรเป็นพื้นฐาน อะไรเป็นส่วนต่อยอด นอกจากนี้ ยังทำงานวิจัยยากเนื่องจากมีตัวแปรจำนวนมาก...
ชื่อไฟล์
abcjournal5-3-56.zip
ขนาดไฟล์
4.29 MB
( 1750 ) ครั้ง