
กระบวนการสืบทอดอักษรโบราณอีสาน และการสร้างคุณค่าโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนบ้านท่าม่วง อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด
โดย นราวิทย์ ดาวเรือง

แนวทางการจัดการประมงปูม้าที่มีไข่นอกกระดองที่เหมาะสมโดยชุมชนประมง
โดย ผศ.ดร.ธงชัย นิติรัฐสุวรรณ

นิเวศวิทยาทางวัฒนธรรมกับวิถีชีวิตของคนเชียงแสนในช่วงปี พ.ศ.2500-2553 กรณีศึกษา: ตำบลศรีดอนมูล อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
โดย ดร.เลหล้า ตรีเอกานุกูล

การบูรณาการองค์ความรู้ท้องถิ่นกับองค์ความรู้วิชาการสมัยใหม่ในการจัดการทรัพยากรน้ำในพื้นที่ทามของชุมชนลุ่มน้ำมูลตอนกลาง กรณีศึกษา: ต.กุดขาคีม อ.รัตนบุรี จ.สุรินทร์
โดย รุ่งวิชิต คำงาม

รูปแบบและกระบวนการขับเคลื่อนการดูแลและรักษาสุขภาพด้วยตนเอง สำหรับชุมชนตามแนวตะเข็บชายแดน จ.เชียงราย
โดย รศ.พัชรา ก้อยชูสกุล

การพัฒนากระบวนการผลิตข้าวแคบ อำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ เพื่ออนุรักษ์ภูมิปัญญา
โดย ปิยวรรณ ปาลาศ

ซือบือ เครื่องดนตรีภูมิปัญญาของกลุ่มชาติพันธุ์ลีซู: มิติในการอนุรักษ์ บทเพลง และการวิเคราะห์
โดย องอาจ อินทนิเวศ

การวิจัยเพื่อพัฒนาพื้นที่: ความสำคัญของงานบริการวิชาการ
โดย ศ.ดร.ปิยะวัติ บุญ-หลง
ปีที่5 ฉบับที่2 พฤศจิกายน-ธันวาคม 2555

การพัฒนาเชิงพื้นที่เป็นการพัฒนาแบบหลายมิติในเขตพื้นที่หนึ่งตั้งแต่ระดับหมู่บ้านไปจนถึงกลุ่มจังหวัด
งานวิจัยเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่ย่อมต้องทำให้สอดคล้องกัน นั่นคือต้องประกอบด้วยหลายมิติ ทั้งด้านการทำมาหากิน
สิ่งแวดล้อมการจัดตั้งองค์กรและเครือข่าย จิตสำนึกชุมชน/สังคม ไปจนถึงด้านประเพณี ภาษา และวัฒนธรรม
สรุปก็คือมีตัวแปรมากจนกระทั่งยากที่จะควบคุม วัดและประเมินผลได้อย่างแม่นยำ หรือในงบประมาณหรือเวลาอันสั้น...
ชื่อไฟล์
abcjournal5-2-55.zip
ขนาดไฟล์
4.44 MB
( 1459 ) ครั้ง