
พลังเครือข่ายการเรียนรู้เพื่อถิ่นฐานบ้านเกิดและการพัฒนา “หละอ่อนบ้านเฮา” จังหวัดลำปาง
โดย ชุติมา คำบุญชู

รูปแบบการจัดการหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวบ้านไร่ป่าคา ตำบลท่าตุ้ม อำเภอป่าชาง จังหวัดลำพูน
โดย ผศ.เอนก ชิตเกษร

การจัดการความรู้ด้านชีววัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ในลุ่มน้ำกก – ลุ่มน้ำโขงส่วนที่ 1 กรณีศึกษา: จังหวัดเชียงราย
โดย ผศ.ดร.รณิดา ปิงเมือง

การศึกษาวิจัยแนวทางการลดหนี้สินเพื่อเสริมสร้างสุขภาวะชุมชน กรณีศึกษา : บ้านดอนหันและบ้านดอนหันพัฒนา ตำบลท่าสองคอน จังหวัดมหาสารคาม
โดย แจ่มจันทร์ รีละชาติ

กระบวนการลดการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชเพื่อเพิ่มความปลอดภัยด้านสุขภาพของเกษตรกรผู้ปลูกพริกและชุมชนบ้านหัวเรือทอง ตำบลหัวเรือ อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี
โดย สง่า ทับทิมหิน

การศึกษาและพัฒนาระบบบริหารจัดการธุรกิจชุมชน กรณีศึกษา : เครือข่าย “ฝ้าย ไหม ไผ่ โบราณ” จังหวัดกาฬสินธุ์
โดย ฉายรุ่ง ไชยกำบัง

การเตรียมความพร้อมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อรองรับการก้าวสู่ประชาคมอาเซียน กรณีศึกษา : พื้นที่เทศบาลตำบลบ้านแยง อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก
โดย วีรากร อุตร์เลิศ

บทความสังเคราะห์ความรู้จากงานวิจัยวิสาหกิจชุมชน (ตอนที่สอง)
โดย ศาสตราจารย์ ดร.อารี วิบูลย์พงศ์
ปีที่5 ฉบับที่1 กันยายน-ตุลาคม 2555

การพัฒนาเชิงพื้นที่เป็นงานพัฒนาหลายมิติและหลายระดับ ที่ว่าหลายมิติ ก็คือมีตั้งแต่ด้านชาติพันธุ์ ประชากร ชุมชน ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม
ไปจนถึงด้านระบบตลาด ที่ว่ามีหลายระดับนั้น มีตั้งแต่ระดับหมู่บ้าน ตำบล ไปจนถึง จังหวัดและกลุ่มจังหวัด
การพัฒนาแบบหลายมิติและหลายระดับ นี้ดูมีข้อดีที่สำคัญก็คือทำให้การพัฒนานั้นดำเนินไปอย่างรอบด้าน เกิดความสมดุลและความยั่งยืน
ทั้งยังช่วยให้เกิดความเป็นปึกแผ่น ไม่มีช่องว่างมาก ระหว่างหมู่บ้านกับกลุ่มจังหวัด...
ชื่อไฟล์
abcjournal5-1-55.zip
ขนาดไฟล์
5.57 MB
( 1728 ) ครั้ง