การวิเคราะห์ และพัฒนาดุลยภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจของวิสาหกิจในเขตพื้นที่จังหวัดระยอง
โดย ดร.กิติกร จามรดุสิต
โครงการสังเคราะห์องค์ความรู้และสรุปบทเรียนการพัฒนาการแพทย์ชนเผ่าอ่าข่า
โดย ดร.กันยานุช เทาประเสริฐ
กระบวนการสร้างและพัฒนาประสิทธิภาพเครือข่ายกลุ่มอาชีพ: กรณีศึกษาอำเภอแจ้ห่ม แม่ทะ แม่เมาะ และอำเภอเมือง จังหวัดลำปาง
โดย รองศาสตราจารย์ ดร.บุญฑวรรณ วิงวอน
การจัดเส้นทางท่องเที่ยวแหล่งเตาเผาแม่น้ำน้อย
โดย ดร.สยามล เทพทา
การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ วิชาการวิจัยนิเทศศาสตร์ เพื่อจัดการความรู้สื่อพื้นบ้าน โดยการสื่อสารแบบมีส่วนร่วมกับชุมชน อำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์
โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปัญณิตา ชัยสนิท
การพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์ใยตาล กลุ่มเครือข่ายโหนดทิ้ง ตำบลจะทิ้งพระ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา
โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อ้อยทิพย์ พลศรี
การวิจัยและพัฒนากระบวนการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ท้องถิ่น เรื่อง สายน้ำนครชัยศรีกับวิถีชุมชนท่าพูด
โดย รองศาสตราจารย์ ชลีรัตน์ พะยอมแย้ม
ปีที่2 ฉบับที่2 พฤศจิกายน-ธันวาคม 2552
บทความงานวิจัยเพื่อพัฒนาเชิงพื้นที่เกือบทั้งหมดที่นำมาเผยแพร่ ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ในชนบทหรือเป็นชุมชนไม่ใหญ่มาก
เกี่ยวข้องกับผู้ประกอบการขนาดเล็กและขนาดกลาง แต่บทความที่จะแนะนำเป็นเรื่องแรกและเป็นเรื่องที่ทีมงานและผู้ทรงคุณวุฒิได้ลงพื้นที่ในฉบับที่ 8 นี้
เป็นชุมชนไฮเทคซึ่งผู้ประกอบการเป็นขนาดใหญ่ร่วมกับทุนข้ามชาติ นั่นคือนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุดที่ได้มีการพัฒนาไปจนเต็มพื้นที่ประมาณ 1 หมื่นไร่เศษ
เมื่อรวมกับพื้นที่ของเอกชนที่อยู่ติดกันจะกว้างใหญ่ถึง 2 หมื่นไร่ มีระบบสาธารณูปโภคและสิ่งอำนวยความสะดวกครบครันสำหรับผู้ประกอบการและแรงงานที่นั่น
พื้นที่มาบตาพุดกล่าวได้ว่าเป็นฐานการผลิตสำคัญของอุตสาหกรรมปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ เหล็กและโลหะ และโรงกลั่นน้ำมัน...
ชื่อไฟล์
abcjournal2-2-52.zip
ขนาดไฟล์
2.42 MB
( 2220 ) ครั้ง