ประกาศจากวารสารวิจัยเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่
วารสาร ได้รับการประเมินคุณภาพวารสารวิชาการ ปี 2564-2567 ให้อยู่ในฐานข้อมูล TCI วารสารกลุ่มที่ 1
วารสาร เปิดรับบทความตลอดปี ไม่มีค่าใช้จ่ายในการตีพิมพ์
วารสาร มีผู้ทรุงคุณวุฒิตรวจสอบบทความ ซึ่งเป็นบุคคลภายนอกจากหลากหลายสถาบัน และมิได้อยู่ในสถาบันเดียวกันกับผู้ตีพิมพ์บทความ จำนวน 3 คน ต่อ 1 บทความ
วารสาร ไม่มี ไฟล์ template ขอให้นำเสนอบทความ ในรูปแบบ 1 คอลัมน์ โดยมีลำดับหัวข้อตามข้อกำหนด
ข้อกำหนดต่าง ๆ ของบทความ พิจารณาได้จาก หลักเกณฑ์การเสนอบทความ
วารสาร เปิดรับบทความตลอดปี ไม่มีค่าใช้จ่ายในการตีพิมพ์
วารสาร มีผู้ทรุงคุณวุฒิตรวจสอบบทความ ซึ่งเป็นบุคคลภายนอกจากหลากหลายสถาบัน และมิได้อยู่ในสถาบันเดียวกันกับผู้ตีพิมพ์บทความ จำนวน 3 คน ต่อ 1 บทความ
วารสาร ไม่มี ไฟล์ template ขอให้นำเสนอบทความ ในรูปแบบ 1 คอลัมน์ โดยมีลำดับหัวข้อตามข้อกำหนด
ข้อกำหนดต่าง ๆ ของบทความ พิจารณาได้จาก หลักเกณฑ์การเสนอบทความ
สรุปรายชื่อบทความ วารสารวิจัยเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่ ปีที่ 1 - ปีที่ 16 ฉบับที่ 3 รายชื่อบทความ
วารสารฉบับล่าสุด ดูทั้งหมด
-
งานวิชาการเพื่อการพัฒนาในชุมชนท้องถิ่น และอ้างอิงต่อยอดในฐานข้อมูลวารสารREAD MORE
-
พัฒนานักวิชาการผู้ปฏิบัติเป็น และ สร้างนักปฏิบัติการผู้มีความเป็นวิชาการREAD MORE
-
บทบาทภาคประชาสังคมและนักวิชาการในการส่งเสริมคุณภาพชีวิตและเศรษฐกิจชุมชนREAD MORE
บทความในฉบับล่าสุด
ดูทั้งหมด
- บทความวิจัย : การแปรรูปกล้วยน้ำว้าอบแห้งด้วยโรงอบแสงอาทิตย์เรือนกระจกระบบความร้อนเสริมแบบอัตโนมัติ ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงห้วยน้ำริน จังหวัดเชียงราย
- บทความวิจัย : การถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตมะม่วงมหาชนกนอกฤดู วิสาหกิจชุมชนไม้ผลและมะม่วงตำบลหนองบัว จังหวัดกาฬสินธุ์
- บทความวิจัย : การพัฒนาผลิตภัณฑ์วุ้นกรอบจากขิงและฟักทองและสร้างชุมชนนวัตกรรม ชุมชนบ้านโช้ จังหวัดพะเยา
- บทความวิจัย : การเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์น้ำพริกปูม้าของกลุ่มสตรีประมงพื้นบ้าน ตำบลขอนคลาน จังหวัดสตูล
- บทความวิจัย : การสร้างโอกาสทางเศรษฐกิจด้วยการท่องเที่ยวโดยชุมชน ชุมชนตำบลหัวเมือง อำเภอเมืองปาน จังหวัดลำปาง
วิดีโอ
ขับเคลื่อนประเทศ พลังความรู้ พลังความร่วมมือ
ปี 2550 สกสว.ได้เริ่มโครงการวิจัยแบบมีส่วนร่วมโดยเอาพื้นที่เป็นตัวตั้ง หรือ Area Based Development Research (ABC) บูรณาการความร่วมมือจากทุกภาคส่วนมาสู่เป้าหมายร่วม คือ แก้ปัญหาความยากจนบนฐานความรู้ที่ชาวบ้านค้นพบ โดยเริ่มจากเครื่องมือง่าย ๆ ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงจากปัจเจกชนเป็นกลุ่มและชุมชนไปจนถึงระดับจังหวัด จากบัญชีครัวเรือนเป็นแผนชุมชนไปจนยุทธศาสตร์จังหวัด